รวม คติเตือนใจ * ใจดีมีแต่ให้ ใจไร้ชึงการให้คือใจยักใจมาร
* ตั้งใจสูงเกินไป มักทำให้ใจเราท้อแท้
* ความเข้าใจ คือหัวใจของการกระทำต่างๆ
* อยากสร้างความดี จะต้องมีขันติ ยอมรับคำติได้ ด้วยใจที่สงบได้ จะพบทางออกที่ดีๆ
* ชอบแต่คำชม ระวังจะขื่นขมในวันหน้า
* ดูชะตาชีวิตในวันหน้า ให้ดูความนึกคิดในวันนี้ทำดีแล้วหรือ
* คนเช่นไรก็มักคิดมักพูดไปในทางนั้น
* มีดีช่วยแบ่งปัน สร้างความสำพันร์ให้เหนียวแหน้น
* ดีไม่กลัว กลัวแต่ไม่ดี มีดีแต่ไม่กลัว กลัวแต่ไม่มีดีอะไรสักอย่าง
* เรียนที่โรงเรียนไหน ก็ไม่เท่าเรียนที่จิตใจของตน
* ยึดไว้ไม่วาง จ้างใครก็ช่วยไม่ได้ (นอกจากตน)
* รู้แล้วกับไม่ทำ รู้จำกับไม่ปฏิบัติ ก็ได้แต่ปริยัต ไม่เกิดผล
* สิ่งดีควรใช้ สิ่งที่ไร้ควรหลีก
* เที่ยวไปทั่ว ยังไม่รู้ทั่วถึงความคิดของตนเอง
* ไฟนั้นมันเผาตน แต่ยังกังวนที่จะไปดับที่ไหนกันเล่า
* เหตุ และผลย่อมที่จะปลนกัน เมื่อมีเหตุ ผลย่อมจะมีแน่
* กลัวลูกมันเหนื่อยตนเหนื่อย กลัวลูกมันตายตนจะตายก่อน
* ต้นไม้นั้นให้ชีวิต แต่คนยังคิดที่จะทำลาย
* เดินช้าๆ ได้พร้าเล่มงาม เดินอย่างงาม เดินตามแบบทำมะชาติตรง เดินอย่างคนทะนง คงต้องเชิดหน้า เดินอย่างมีปัญหา หน้ายุ่งให้เห็นกัน เดินอย่างเห็นทุกวัน คือแทบพันกันเข้าด้วยขาทั้งสอง
* คิดได้แต่ไม่ดี ก็ยังดีได้แต่ไม่เคยคิด (แก้ไข)
* ผิดถูกนั้นสำคัญสไหน แม้ไม่นำไปปฏิขัติให้เกิดผล
* รู้ทำรู้คิดแต่สิ่งที่ดี ชีวีก็มีสุขได้
* รู้เท่าทันจิต ความคิดไม่วุ่นวาย รู้ถึงความตาย ย่อมคลายจากความยึดมั่น
* ไม่มีต้นไม้ กายคงยืนอยู่ไม่ได้นาน
* มีลมหายใจได้ เพราะใครให้อากาศบริสุทธิ์
* อย่ามัวหวังแต่คอยกำลังใจ ให้ทำไปด้วยใจที่มั่นคงจะไปกว่า อย่ามัวหวังแต่คอยกำลังใจจากใคร เมื่อไม่ได้ย่อมจะเสียใจ และสิ้นกำลังที่จะเดินต่อ
* อยากรู้ให้ถาม อยากงามให้แต่ง อย่าแข็งไปด้วยมานะ ย่อมจะได้รับในสิ่งที่ดีๆ
* ยิ่งตามก็ยิ่งไกล ยิ่งเอาใจก็ยิ่งเสีย
* รู้รักรู้หลงคงไม่นั่งเศร้า รู้เค้าแต่ไม่รู้เราคงต้องเศร้าเป็นแน่
* อยากลืมแต่ไม่รู้กับยิ่งจำ รู้ทำย้ำคิดชีวีคงลืมได้
* เริ่มแรกคิดแหกก็คงเศร้า จะเอาได้จากที่ไหน
* มีน้ำใจใครๆก็รัก ใจที่หนักย่อมรักษาบุญไว้ได้
* คิดผิดคิดใหม่ คิดให้จะได้บุญ
* คิดทำเพื่อผู้อื่นวันคืนก็มีแต่สุข คิดทำเพื่อตนทุกข์นั้นจะล้นออกมาให้เห็น
* ให้ธรรมะเป็นทาน ย่อมชนะมารทั้งปวง (โดยเฉพาะมารที่อยู่ในจิตใจ)
* ศึกษาธรรมะชนะการศึกษาทั้งปวง
* คิดแต่ข้อดีของเค้า เราจะต้องหม่นหมอง ตรองตรม
* รู้แล้วอย่าลืมบอกเพื่อน เตือนแล้วอย่าลืมกระทำนะครับ
* อยากสอนคนอื่นให้สอนตนก่อน อยากให้คนอี่นรู้ และเข้าใจตนต้องรู้ก่อน
* พึงตนก็พ้นพัย พึงใจก็พ้นทุกข์
* พึงคนอื่นสุขก่อนผ่อนทุกข์ที่หลัง พึงตนทุกข์ก่อนสุขตามมาทีหลัง
* ได้ของดีแล้วมักช่า กินยาบ้ายิ่งช่ายิ่งบ้าไปใหญ่
* มีเงินน้อยก็ทุกข์ มีเงินมากก็ทุกข์ แล้วสุขนั้นอยู่ไหน (อยู่ไม่ใกล้ไม่ไกลอยู่ในจิตใจดวงนี้ไงครับ)
* ได้ของขังชีวิตพังมาก็มาก อยากได้ลาภจนลืมตัวกระทำผิด
* ของดีแท้นั้นย่อมเบาสบาย ของที่พาจิบหายนั้นย่อมที่จะหนักมาก (หนักทั้งกายหนักทั้งใจ)
* รักสาตัวรักสาใจนั้นยังยากแล้ว แล้วใยเล่าเฝ้าหาสิ่งมาเพิ่มให้หนักหนา เพราะยิ่งคิดก็ยิ่งระอา เมื่อรู้ว่าไม่ใช่สุขที่แท้เอ๋ย
* พูดดี คิดดี ทำดี ย่อมจะบังเกิดสิ่งดีขึ้น
* โชคอยู่ที่เรา อย่ามัวไปเฝ้าจากที่ไหนให้เหนื่อยเปล่า
* บวชด้วยปากพูดมันง่าย แต่บวชด้วยใจนั้นมันยากยิ่ง พูดย่อมง่ายกว่ากระทำ รู้ธรรมนำชีวิตให้สดใส
* หากไม่รู้คิด ชีวิตต้องหมองม่น
* รู้เลือกรู้ทำ ย่อมทำให้ชีวิตนั้นสดใส
* เวลามีน้อย อย่ามัวเฝ้าหาแต่สิ่งที่ไร้สาระเลย
* จิตยังไม่แน่วแน่ ระวังจะแพ้กิเกสเอาง่ายๆ
* ได้มาแปล็บเดียวก็เบื่อ ไม่เชื่อก็ลองดูเถิด
* ฉลาดเพิ่มกิเลส ปัญญาลดกิเลส ฉลาดเพิ่มทุกข์ ปัญญาเพิ่มสุข
* หวังแต่สิ่งอื่นคนอื่น สักวันคงต้องกลืนน้ำตา
* ของดีนั้นหายาก เพราะลำบากมัวหากันแต่ภายนอก
* สิ่งดีมีแต่นำสุขมาให้ สิ่งจังไรนำแต่ภัยมาถึงตัว
* ยกเงินไว้ที่สูง เพื่อนฝูงแตกกระเจริง ยิ่งคิดว่าเงินเป็นที่พึง จึงละพึงชึงพระธรรมคำสอน
* มีเงินน้อยก็ทุกข์ มีเงินมากก็ทุกข์ แล้วสุขนั้นอยู่ที่ใด
* รู้ภัยไม่พกเงินมาก รู้ยากจน ต้องขยัน อดทน และประหยัด
* คนหลงเงิน ไม่ใช่เงินหลงคน คนไม่ดี ไม่ใช่เงินไม่ดี
* เงินจะดี เพราะรู้จักใช้ เงินจะบั่นไร เพราะใช้ไม่เป็น
* เขียนอยากให้เข้าใจ มิใช่เขียนไปเพื่อความเพิดเพลิน
* หนทางตรงกับไม่เดิน แต่กับชอบเดินทางที่เพิดเพินกันหนักหนา
* ผู้อิ่มย่อมรู้จักให้ ผู้ที่รู้จักจิตใจย่อมเข้าใจในความทุกข์ของผู้อื่น
* ให้ธรรมะเป็นทาน ไม่ควรคิดประมาณในผลบุญนั้นมีเท่าไหร่
* ด้วยใจที่สงบย่อมจะพบกับทางสว่าง หนทางคงยังยาวไกล หากไม่ใส่ใจในการปฏิบัติ
* สุขเพราะไม่ยึด เพราะยึดนั้นจึงทุกข์
* รู้หนักให้ปล่อยวาง รู้ทางให้รีบเดิน อย่ามัวแต่เมินเฉย เวลาเลยจะไม่ทัน
* อยากลืมคนรัก ให้ตะนักข้อเสียของเค้ามากๆ
* สุดยอดของเงินทอง คือวิชชาความรู้ สุดยอดของสัตตรูคือตัวเราเอง
* พูดเพราะเป็นหวง ไม่รักไม่หวง ไม่เอาบ้วงมาแขวนคอหรอกครับ
* ยิ่งใช้ก็ยิ่งกว้าง ยิ่งกว้างก็ยิ่งสงบ
* บัณฑิตไม่คิดถือสา คนมีปัญญารู้จักพิจาระณาดีชั่ว
* เรื่องไม่ดีนั้นเชื่อง่าย ยิ่งเป็นเรื่องการตายยิ่งเชื่อกันใหญ่
* ส่วนเรื่องดีนั้นเชื่อได้อยาก อยากลอง อยากพิสูตก่อนจึงจะเชื่อ
* เรื่องเพียงน้อยนิด เก็บไปคิดเป็นเรื่องใหญ่
* การมีธรรม และปฏิบัติ ย่อมที่จะขจัดความทุกข์ให้สิ้นไปได้
* อกุศลกรรมไม่ควรก่อ ที่ความก่อคืออุศลกรรมจะนำชีวิตให้เป็นสุข
* รู้เลือกรู้รักสา รู้นำพาชีวิต รู้คิดก่อนตัดสินใจ รู้ไปตามทางที่ถูกต้อง รู้มองทางไกล รู้เรื่องอะไรไม่เท่ารู้เรื่องของกฏแห่งกรรม
* ใจดีย่อมยิ้มได้ง่าย ใจง่ายมักจะเจอทุกข์ภายหลัง
* อยากให้เค้าเป็น ตนเป็นก่อน อยากให้เค้าดี ตนดีก่อน อยากให้เค้าสุข ตนสุขก่อน อยากให้เค้าทุกข์ ตนทุกข์ก่อน
* ทุกข์น้อยเพราะสละมาก ทุกข์มากเพราะสละน้อย
* ฝึกตนพ้นพัย ฝึกจิตใจพ้นทุกข์
* ทุกข์อยู่ที่ตัวเรา อย่าไปมัวเมาเฝ้าเพ่งแต่ผู้อื่น
* ทุกข์อยู่ที่ตน ตนเท่านั้นที่แก้ได้
* อย่าแพ้ในสิ่งที่ยังไม่ทำ อย่าจำแต่เรื่องที่ไร้สาระ อกุศลให้ละ อยากเป็นพระจะต้องใจดีๆ
* รักษาตัวพ้นจากโรคพัย รักษาใจพ้นจากทุกข์ ทุกข์นั้นอยู่ข้างใน ใช่ใครที่มัวหากันแต่ภายนอก
* ทำตัวดี ย่อมจะมีประโยชน์ หากมัวคิดแต่จะโกรธ โทษนั้นจะยิ่งมีมาก
* ทุกความเห็นย่อมมีความหมาย หากได้พินิพิจารณาให้ถี่ถ้วน
* บัณฑิตไม่คิดก่อเวรกรรม ย่อมกระทำแต่สิ่งที่เป็นประโยชน์
* บัณฑิตมักแสวงหา คนมีปัญญามักนำพาไปหาแต่สิ่งที่ดีงาม
* บัณฑิตไม่คิดงก จะมิสร้างนรกให้เกิดขึ้นในดวงจิต
* รู้คิดรู้ฝัน รู้ลงมือทำถึงจะสำเร็จ
* สุดยอดของเงินทอง คือวิชชาความรู้ สุดยอดของสัตตรูคือตัวเราเอง
* พูดเพราะเป็นหวง ไม่รักไม่หวง ไม่เอาบ้วงมาแขวนคอหรอกครับ
* ยิ่งใช้ก็ยิ่งกว้าง ยิ่งกว้างก็ยิ่งสงบ
* บัณฑิตไม่คิดถือสา คนมีปัญญารู้จักพิจาระณาดีชั่ว
* เรื่องไม่ดีนั้นเชื่อง่าย ยิ่งเป็นเรื่องการตายยิ่งเชื่อกันใหญ่
* ส่วนเรื่องดีนั้นเชื่อได้อยาก อยากลอง อยากพิสูตก่อนจึงจะเชื่อ
* เรื่องเพียงน้อยนิด เก็บไปคิดเป็นเรื่องใหญ่
* การมีธรรม และปฏิบัติ ย่อมที่จะขจัดความทุกข์ให้สิ้นไปได้
* อกุศลกรรมไม่ควรก่อ ที่ความก่อคืออุศลกรรมจะนำชีวิตให้เป็นสุข
* รู้เลือกรู้รักสา รู้นำพาชีวิต รู้คิดก่อนตัดสินใจ รู้ไปตามทางที่ถูกต้อง รู้มองทางไกล รู้เรื่องอะไรไม่เท่ารู้เรื่องของกฏแห่งกรรม
* ใจดีย่อมยิ้มได้ง่าย ใจง่ายมักจะเจอทุกข์ภายหลัง
* อยากให้เค้าเป็น ตนเป็นก่อน อยากให้เค้าดี ตนดีก่อน อยากให้เค้าสุข ตนสุขก่อน อยากให้เค้าทุกข์ ตนทุกข์ก่อน
* ทุกข์น้อยเพราะสละมาก ทุกข์มากเพราะสละน้อย
* ฝึกตนพ้นพัย ฝึกจิตใจพ้นทุกข์
* ทุกข์อยู่ที่ตัวเรา อย่าไปมัวเมาเฝ้าเพ่งแต่ผู้อื่น
* ทุกข์อยู่ที่ตน ตนเท่านั้นที่แก้ได้
* อย่าแพ้ในสิ่งที่ยังไม่ทำ อย่าจำแต่เรื่องที่ไร้สาระ อกุศลให้ละ อยากเป็นพระจะต้องใจดีๆ
* รักษาตัวพ้นจากโรคพัย รักษาใจพ้นจากทุกข์ ทุกข์นั้นอยู่ข้างใน ใช่ใครที่มัวหากันแต่ภายนอก
* ทำตัวดี ย่อมจะมีประโยชน์ หากมัวคิดแต่จะโกรธ โทษนั้นจะยิ่งมีมาก
* ทุกความเห็นย่อมมีความหมาย หากได้พินิพิจารณาให้ถี่ถ้วน
* บัณฑิตไม่คิดก่อเวรกรรม ย่อมกระทำแต่สิ่งที่เป็นประโยชน์
* บัณฑิตมักแสวงหา คนมีปัญญามักนำพาไปหาแต่สิ่งที่ดีงาม
* บัณฑิตไม่คิดงก จะมิสร้างนรกให้เกิดขึ้นในดวงจิต
* รู้คิดรู้ฝัน รู้ลงมือทำถึงจะสำเร็จ
* ใจง่ายเสียตัว ใจกลัวๆทำอะไรมักไม่ถูก
* สิ่งที่เห็นอาจไม่จริง สิ่งที่คิดอาจไม่ใช่ ต้องใช้วิจารนะยานครับ
* พบ พราก จาก ลา เป็นทำมะดาของโลกครับ
* ยิ่งงามก็ยิ่งเผ็ด แต่ว่ายิ่งเผ็ดก็ยิ่งชอบ ออแปลกดี
* ดูให้ดีๆ อย่าให้ความหลงบังตาจนมองไม่เห็น
* เมตตาพาให้เรียนรู้ เมตตาพาให้ตนได้ฝึกฝน เมตตาพาให้เกิดสันติสุข เมตตาพาให้ใจสงบ เมตตาพาให้เกิดปัญญา เมตตาพาให้เกิดวิริยะ เมตตาพาให้เกิดขันติ เมตตาพาสัทจะ เมตตาพาให้เกิดอธิฐาน เมตตาพาให้ใจเป็นสุข เมตตาพาให้เกิดอุเบกขา เมตตาพาให้พ้นทุกข์
* ผู้เก่งธรรมย่อมนำความสุขมาสู่ประชา และอ่อนน้อมถ่อมตนเสมอ ผู้เก่งทางโลก มักอวดองทนงตัว ยกตนข่มท่าน
* สิ่งดีนั้นควรเก็บไว้ สิ่งจั่งไรให้วางเสีย
* ชีวิตเปรียบเหมือนเดินอยู่บนเส้นด้าย จะต้องค่อยๆยับย้ายไปอย่างละมัดละวังที่สุด
* ความสุขคือการปล่อยวาง ความสุขคือการชนะความอยาก ความสุขคือความสงบ ความสุขคือความโล่งโป่งเบาสบาย ความสุขเกิดจากการได้เรียนรู้ธรรมชาติว่าเป็นอย่างไร ความสุขคือการให้ ความสุขคือการได้ช่วยเหลือเกื้อกูลผู้อื่น ความสุขคือการระชั่ว กระทำแต่ความดี ความสุขคือการไม่ยึดมั้นถือมั้น ความสุขคือการได้ให้อภัย ความสุขคือการไม่โกรร เกลียด ชิงชัง อิจฉาริษยา จองเวร ความสุขคือการไม่โลภ อยากได้สิ่งของที่เป็นของคนอื่น ความสุขคือการมีสันธ ความพอใจในสิ่งที่ตนเองมี
* จิตสงบย่อมพบกับสิ่งที่สดใส จิตที่เหลวไหลไพนั้นย่อมเกิดมี สิ่งที่ดีนั้นจะไม่ไกลพ้น หากเดินตามทางสายกลางที่พระพุทธเจ้ามอบให้
* รู้ตัวพ้นทุกข์ ไม่รู้ตัวทุกข์ล้น
* สละสิ่งที่ไม่สำคัญ เพื่อสิ่งที่สำคัญกว่า สละสิ่งที่สำคัญน้อย เพื่อสิ่งที่สำคัญมาก
* ของดีอยู่ในตัว อย่ามัวแต่ไปหาภายนอกเลย
* คิดก่อนทำ ย้ำก่อนตัดสินใจ
* ใช้ชีวิตแบบไร้สาระ แล้วจะละความชั่วได้อย่างไร
* สุขได้เพราะตน พ้นได้เพราะรู้ และปฎิบัติ
* ทำดีมักสงสัยจั่ง ทีทำชั่วไม่ยักกะสงสัยอย่างนี้บ้างหนอ
* ทำดีนั้นมัวแต่คิดอาย ทำชั่วไม่เห็นจะอายมั้งล่ะ
* ความสุขแค่น้อยนิด อย่าได้คิดทำกรรมชั่ว
* สิ่งดีๆมักไม่ยึด มักยึดแต่สิ่งที่ไม่ดีชีวีต้องหมองหม่น
* เวลาจะมีมาก ถ้าไม่อยากในสิ่งที่ไร้สาระ เวลาจะมีมาก ถ้ารู้อยากในสิ่งที่เป็นประโยชน์ เวลาจะมีค่า ถ้าว่าสิ่งไหนดี และเลือกทำ
* จิตที่สงบย่อมเป็นสุข จิตที่มักสนุกย่อมพบกับความวุ้นวาย
* มองให้เป็น เห็นประโยชน์ทั้งสองอย่าง มองอย่างผู้รู้ คือรู้ทั้งดี และชั่วเอาไว้เป็นแบบ พร้อมเตือนตน
* มองเป็นเห็นประโยชน์ มองไม่เป็นเห็นแต่โทษ มองเป้นย่อมยั่งมิตให้ยืน ขืนมองแต่สิ่งที่ไม่ดี ไมตรีก็จางหาย มองให้เห็นหลายแง่ ถึงจะแก้ความวิตกกังวนได้ หันกับมามองกายกับใจเรา เฝ้าระวังไม่ให้เกิดอกุศลแล้วหรือ
* รู้จิตรู้ใจเค้า ยังไม่เท่ากับรู้ใจตนเอง
* เมื่อรู้เรา เค้านั้นก็เช่นเดียวกัน
* จิตใจดีย่อมมีเมตตา จิตใจริษยาพาให้เกิดทุกข์
* สิ่งที่อยู่ใกล้ตัวมักมองไม่เห็น มักจะเห็นแต่สิ่งที่ไกลตัวมากกว่า
* อยากได้ให้ไป อยากเข้าใจให้ถาม
* สิ่งดีๆยังมีอีกมาก หากไม่ให้ตัวมานะมีเป็นตัวกลั้น
* รู้มากเค้าไม่ว่าดี แต่มั่งมีเค้ามักว่าดีเสมอ
* ยอมรับความผิด จึงคิดเปลี่ยนแปลงตน
* ถ้ารู้ทำไมทำไม่ได้ แต่เมื่อเอาให้ทำเหมือนรู้
* สิ่งที่คิดว่าง่ายมันยากก็มี สิ่งที่คิดว่ายากมันง่ายก็มี
* สิ่งที่ได้มาง่ายมักไม่ยั้งยืน สิ่งที่ยั้งยืนมักจะเสียแรงเสียเหงื่อมาก
* ไม่ลองก็ไม่รู้ ไม่ดูก็ไม่เห็น ไม่ทำหรือจะเป็น รู้เห็นเป็นเช่นไรเล่า ต้องให้เจ้าพิสูธดู
* วันนี้วันพระ แล้วท่านได้ละสิ่งที่ไม่ดีออกจากใจแล้วหรือยัง
* ใจที่สงบย่อมจะพบกับความสุข ใจที่มักสนุกย่อมพบกับความวุ้นวาย
* แต่งความดีกันวันละนิด ชีวิตจะได้ชืนบาน
* จ่ายให้น้อยหน่อย ชีวิตจะไม่ลำบาก
* ดีไม่กลัว กลัวแต่ไม่ดี
* มีน้อยก็ใช้น้อย มีมากก็ใช้มาก ไม่มีแล้วจะเอาที่ไหนมาใช้เล่า
* ดีนั้นชอบช่วยเหลือ ใจเสือนั้นชอบขูดรีด
* อยากให้แต่พ่อแม่เห็นใจ แล้วเราเคยเห็นใจท่านมั้ย
* ชีวิตจะเป็นพิษ เพราะความคิดไม่เป็นประโยชน์
* รู้ดีไม่เท่าทำดี ทำดีไม่เท่าใจดี ใจดีไม่เท่าใจที่สงบ และมีเมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา
* ทางดีไม่ชอบเดิน ทางที่เพิดเพลินชอบเดินดีๆ
* จะจนหรือลวย สุดท้ายต้องม้วยมรนาเหมือนกันนั้นแหละ
* มีสองดีกว่ามีหนึ่ง ถ้ามีสองไม่สามัคคีมีหนึ่งดีกว่าแน่
* โลกร้อนเพราะใจคนมันร้อน โลกจะสงบเย็นได้ ใจคนจะต้องเย็นสงบ
* ต้นไม้เป็นบ่อเกิดของอาหาร และยา ความเมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา เป็นบ่อเกิดของปัญญา และความสงบสุข
* ลูกคือดวงใจของพ่อแม่ แล้วพ่อแม่คืออะไรหนอของลูกรัก
* ต้นไม้ไม่มีคนมีชีวิตอยู่ได้ แต่คนไม่มีต้นไม้จะมีชีวิตอยู่ได้มั้ย ต้นไม้คือผู้ให้ชีวิตแก่คน แต่คนกับตอบแทนด้วยการตัดไม้ทำลายป่าหนอ
* เป็นลูกไม่ควรผลานพ่อแม่ เป็นเฒ่าแก่ไม่ควรข่มเหงลูกน้อง
* รู้เลือกรู้คิด จิตก็เบิกบาน รู้จักให้ทาน ความเบิกบานยิ่งเพิ่มล้น
* ชีวิตมีแต่รับก็นับว่าเสื่อมมาก ชีวิตมีแต่ให้ก็ไร้ชึงความสมดุล ชีวิดเจริญจะต้องไม่เพิดเพินทั้งการให้ และการรับ
* เวลาอยู่ที่ใจ ถ้าอยากจะต้องมีแน่
* สิ่งดีๆยังมีอีกเยอะ อย่าได้เอาสิ่งเปอะเพียงนิดเดีวยมาปิดกลั้นไว้
* หัวใจจะเป็นธรรม เพราะไม่กระทำโดยความรำเอียง
* ชีวิตมีน้อยนิด อย่าได้คิดสร้างกรรมชั่วเลย
* เกิดมาเป็นคน ถึงจะจนก็ยังดีกว่าสัด
* ได้ดีอย่าลึมตน ได้เกิดเป็นคนอย่าลืมทำความดี
* ความไม่เคยเกิดจากไม่ทำ ความไม่จำเกิดจากไม่ท่อง และทำให้เป็นนิสัย
* คนที่อ่อนน้อม ย่อมพร้อมที่จะเป็นฝ่ายรับที่ดีได้เสมอ
* มองโลกในสองแง่ ความจริงแท้ก็จะบังเกิด
* คิดอยากแต่มั่งมี ความดีก็เริ่มหาย คิดอยากแต่สบาย ร่างกายก็เริ่มอ่อนแอ
* อารมณ์อยู่เหนือจิต มีแต่ทุกข์ จิตอยู่เหนืออารมณ์ จึงมีสุบได้
* บัณฑิตไม่คิดทำร้าย ถึงจะถูกให้ร้ายก็ไม่หมายจะเอาคืน
* สิ่งใดไม่เรียนรู้จริง ก็ยากอยู่ที่จะละได้ สิ่งใดไม่เรียนรู้จริง ก็ยากยิ่งที่จะเข้าใจ สิ่งใดไม่ได้สำผัส ก็ยากยิ่งที่จะรู้สึกได้
* มีสองดีกว่ามีหนึ่ง มีสองหากไม่สามักคีมีหนึ่งยังจะดีกว่า
* รู้มากนั้นมากหลง หลงมากนั้นมักมืด
* อยากรู้ให้ทดลอง อยากช้ำชองต้องทำเรื้อยๆ
* รู้คัดในสิ่งที่ดี รู้เลือกในสิ่งที่ถูกต้อง รู้ไม่ข้องกับสิ่งเสพติด รู้ปฏิเสธในการทำชั่ว รู้ตัวไม่หลงตัวเอง รู้ตัวไม่ข่มเหงคนอื่น รู้จักฝืนใจตน ให้พ้นจากอำนาจกิเลส
* ไม่ว่าอะไร เมื่อไม่สนใจย่อมจะคิดว่าไม่มีเวลา
*รู้ให้รู้รับ ถึงนับว่าเป็นบัณฑิตบัณฑิตควรคิดการไกล คนจังไรคิดแค่ใกล้นิดเดีวย
* คนที่มักสนุก เลยต้องคลุกเค้ากับเหล้าเบียร์ ถ้าได้ดื่มเบียร์ ต้องเสียทรัพย์อัพทั้งปัญญา แล้วยังนำมา ชึงชะตาที่เสื่อมถอยด้อยด้วยกิเลสหนาปัญญาเสื่อม
* รู้มากไม่ทำ มักจะทำให้ตนหลง รู้น้อยแต่คิดทำ มักจะทำผิดพลาด รู้มากแล้วทำ ย่อมที่จะเกิดผล
* สร้างความกล้าให้กับตัวสักนิด เพื่อพิชิดความกลัวให้จางไป
*สิ่งที่ไม่รู้บางทีอยู่แค่เอื้อม ถ้าไม่เสื่อมจากทางสายกลาง
* สิ่งที่ไม่เข้าใจยังมีอีกมาก สิ่งที่อยากรู้ยังมีอีกเยอะครับ แต่ในสิ่งที่มากและเยอะนั้น แต่หาสิ่งที่มีคุณค่านั้นมีน้อยนัก
* รู้ต้องรู้แจ้ง แทงตลอด รู้ต้องรู้แน่ ใช่แต่ว่าท่าทีเหลว รู้ต้องเผื่อแผ่ ใช่แต่ แพ้ความตะหนี่ รู้ๆดีแต่ไม่ทำ ต้องช้ำใจในภายหลัง
* งามนอกดูดี แต่มีค่าน้อย งามในไม่ค่อยดู แต่อยู่คู่กันได้นาน
* ไม่ให้ก็ไม่รู้ ไม่ลองอยู่กับสัดก็ไม่เห็น อยากเป็นคนมีเมตตา จะต้องค้นหา และปฏิบัติธรรม
* อยากรู้ให้ถาม อยากงามให้แต่ง อยากแบ่งอยากให้ ต้องรู้ใช้รู้ประหยัด
* ชีวิตคือการเรียนรู้ รู้เรียนรู้ศึกษานำพาชีวิตไปสู่ฝั่งพระนิพพาน
* รู้ดีรู้ชั่ว รู้ตัวรู้ตื่น วันคืนล่วงไปๆ ใครจะช่วยเจ้าได้หนอ
*เหตุ และผล คงต้องค้นคิดพิจาราณาด้วยปัญญาทุกปัญหามีทางแก้ ถ้าไม่แพ้คิดถอยก่อน คงได้ดี
* รู้แล้วเปลี่ยน เรียนแล้วนำไปใช้ ฝึกหัดให้ได้ ใช้ให้เป็นก็จะเห็นผล
* สอนตนให้รู้ฝืนใจ สอนตนให้ทำสิ่งที่เป็นกุสล สอนตนให้พ้นจากอบาย สอนตนให้คลายจากความยึดมั้นถือมั้นในตัวตน สอนตนเพื่อความหลุดพ้นแห่งวัฏสงสาร
* ผู้ให้ย่อมจะได้มิต ผู้คุ้นคิดย่อมที่จะได้ปัญญา
* สอนตนรู้ผลของกรรมดี สอนตนอย่าได้มีจิตริษษา
* ปัญหา ก็คือ ปัญญา ปัญญา คู่มา กับปัญหา
* ยิ้มได้เพราะใจผ่องใส คนมักใหญ่ใจนั้น จะขุ่นมัว
*ชีวิตจะมืดมิดอยู่ ถ้าไม่รู้ว่าหลงตัว ชีวิตจะเมามัว เพราะตัวหลงครอบคุมอยู่
* รู้ตัวนั้นแหละดี รู้ว่า ไม่ดีจึงแก้ไขตัว ไม่ให้คิดชั่วทำชั่ว แล้วตัวก็จะสดใสเอง
* เริ่มวันนี้ได้วันนี้ เริ่มพรุ่งนี้ก็ได้พรุ่งนี้ เมื่อมีโอกาศ อย่าได้ประมาด เพราะเป็นหนทางแห่งความตาย
* คนขี้เกลียดมักจะเบียดเบียนผู้อื่น คนที่ฝืน และเพียนนั้นย่อมจะทำสำเร็จ
* รู้เข็ดรู้จำ รู้ไม่ทำช้ำรู้สำนึกผิด คิดเปลี่ยนแปลงแก้ไข ชีวิตจะได้สดใส และเป็นสุขได้
*หากท่านไม่พูดแล้วใครจะรู้ได้ คนที่รู้ได้นั้นก็คือผู้ที่ถึงที่สุดแห่งธรรมแล้ว
*เพราะความมักได้เพียงน้อยนิด ชีวิตเลยต้องอัปเฉา เพราะความมักได้ของฟรี ก็เลยต้องมีแต่เรื่องทุกข์ เพราะคิดว่าเป็นทางสุข ทุกข์นั้นจึงประจักให้เห็น
*อิจฉาตาร้อน เร้าร้อนไปทั้งตัว เพราะเหตุกลัว กลัวเขาได้เขาดีไปกว่าตน เพราะความร้อนรน เฝ้าเผาตนต้องดิ้นรนจะเบียดเบียน ใช้คำพูดคำด่าเพื่อติเตียน เพียนเพื่อชนะคนอื่นก็เป็นพอ
* อิจฉาตาร้อน เร้าร้อนไปทั้งตัว เพราะเหตุกลัว กลัวเขาได้เขาดีไปกว่าตน เพราะความร้อนรน เฝ้าเผาตนต้องดิ้นรนจะเบียดเบียน ใช้คำพูดคำด่าเพื่อติเตียน เพียนเพื่อชนะคนอื่นก็เป็นพอ
*ดีน้อย เสียมาก อย่าต้องลำบากแบกหาบเลย ให้ละว่างและเมินเสย ใยเล่าเลยจะเกิดทุกข์ให้เห็นกัน
* สิ่งที่ดีๆนั้นควรจำ แล้วนำไปปฏิบัติให้เกิดผล อย่ามัวแต่เฝ้าจับผิดแต่คน ทางหลุดพ้นคือความดี แสงสีสวยนั้นขาวดี เป็นแสงนำทางสู่ทางสว่าง สอาด สงบ
* ความดีใยเราเจ้าต้องกลัว สิ่งที่ควรกลัวนั้นก็คือ ใจตัวคิดทำบาปมากกว่าครับ
* ฝึนตนพ้นภัย ฝึนใจพ้นทุกข์ เมื่อเจอทุกข์ ย่อมจะชุกหาที่เพิ่ง
*ทำดีนั้นมันยาก มักมากนั้นมันง่าย จะทำให้กิเลสสลาย จะต้องฝึกทั้งกายฝึกทั้งใจ คอยจ้องแต่จับผิด คิดแต่เรื่องชั่ว มั่วแต่สิ่งที่ไม่ดี ชีวีก็มีแต่ทุกข์
*กินเพื่ออยู่ ตน และผู้อื่นไม่เดือดร้อน อยู่เพื่อกิน ชีวิตตน และผู้อื่นต้องร้อนยิ่ง
* ใช้อย่างผู้รู้คิด ชีวิตมีความหมาย ชีวิตจะอันตราย ก็หญิงชาย รู้แต่ใช้
*ความรู้อยู่ที่ปาก ถ้าอยาก ก็ใช้ปากเป็นทางเพื่อรู้
*จงดูให้เห็นเป็นเช่นกับครู แล้วเฝ้าดูให้เห็นเปลี่ยนให้เป็นประโยชน์ แล้วคุณก็จะไม่เกิดความโกรธ แล้วหลงไปโทษแต่ตัวเขาครับ
*พูดมากก็ย่อมที่จะผิดมาก มักมากก็ย่อมที่จะทุกข์มากครับ
* รู้จักเลือกรู้จักคิด จะนำพาชีวิตให้สดใส
* ชีวิตอยู่ได้ด้วยความเปลี่ยนแปลง หากไร้ชึงการเปลี่ยนแปลงแล้วจะอยู่ไม่ได้
* อยากได้ลูกดี ตนเองต้องดีก่อน อยากให้คนอื่นดี เราก็ต้องดีก่อน
* ความอยากนั้นไม่มีวันจบ หากไม่รบกับกิเลสให้ดับกันไปข้างหนึ่ง
* ได้มาเดียวก็เบื่อ ไม่เชื่อก็ตรองดูอดีต มีอะไรทำให้พอใจได้นานไหม
* ใจคับ โลกมันแคบ ใจไม่แคบโลกมันกว้าง
* กำไว้มันเหนื่อย เมื่อยนักก็ปล่อยวางเสียบ้างจะได้รู้สึกดี
* คิดว่าเค้าเป็นครู สอนทั้งดีชั่วให้รู้จัก
* ยามกินยังรู้จักเลือก ยามเห็นทำไมไม่รู้จักเลือกหนอ
* สิ่งที่ล้ำค่าอีกสิ่งหนึ่ง นั้นก็คือบทเรียของชีวิต
* ทุกข์เกิดจากตัวเรา ให้เข้าไปดู และแก้ไขไพนั้นก็จะลด และหมดลงในที่สุด
* ชีวิตไม่สดุด หรือตำความทุกข์เข้าอย่างจั่ง ชีวิตก็ยังหลงระเริงอยู่เป็นแน่แท้
* เชื่อไม่ควรเฉย ไม่เชื่อไม่ควรละเลย และกล่าวหา
* คำว่าไม่เคย เพราะไม่ทำจะเคยได้อย่างไร คำว่าไม่เป็น เพราะไม่ทำได้อย่างไร คำว่าไม่เห็น เพราะไม่ทำ ไม่ปฏิบัติจริงจัง และถึงทีจะเห็นได้อย่างไร ทุกคำที่กล่าวๆเพราะไม่รู้ เป็นเพียงแค่คำแก้ตัวเพื่อหลบหลีกปัญหา
* ย้ำทำย้ำคิด ทำสิ่งที่เป็นกศล ผลบุญจะได้เต็มไวๆ
* อยากรู้ควรตามไปดู ไม่ควรอยู่ และนิงเฉย เวลาจะนั้นย่อมล่วง และไม่เคยคิดคอยใคร
* ไปทางตรงใช่ว่าลัด ไปทางอ้อมใช่เหลวไหลชะเมื่อไหร่
* มีน้อยก็ว่าไม่มี มีมีมากก็ว่าไม่มี แล้วคุณคิดว่ามีเท่าไหร่นั้นถึงจะพอ
* ความท้อแท้ ทำให้แพ้เอาง่ายๆ
* เดินสายกลาง เป็นทางสายเอก
* คิดไม่ตก อย่าเก็บรถไว้ในใจ มีอะไร ค่อยๆเปิดใจปรึกษากัน
* ความคิดเป็นบ่อเกิดของการกระทำ ความคิดนำการกระทำจึงเกิด ความคิดประเสิถย่อมเกิดความสุขตามมา
ร้ายเพราะความโลภ ร้ายเพราะอวิชชา ร้ายเพราะหว่ง ร้ายเพราะหลง ร้ายเพราะหึง ร้ายเพราะเกลียดชัง ร้ายเพราะอิจฉา ริษยา ร้ายเพราะอยากได้ อยากครอบครอง ร้ายเพราะรัก
|
|
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น